รายงานสรุปผลการดำเนินกิจกรรมห้องสมุดอาเซียน




559 1    

รายงานสรุปผลการดำเนินกิจกรรมห้องสมุดอาเซียน
โรงเรียนบ้านต้นปรง จังหวัดตรัง
ปีการศึกษา 2565

ห้องสมุดอาเซียน โรงเรียนบ้านต้นปรง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 


ห้องสมุดอาเซียน โรงเรียนบ้านต้นปรง

1. สถิติการเข้าใช้ห้องสมุดอาเซียน ประจำปีการศึกษา 2565

สรุปสถิติการเข้าใช้ห้องสมุดอาเซียนแยกตามระดับชั้น ประจำปีการศึกษา 2565

เดือน

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

รวม

ระดับชั้น

ครั้ง

ป.1

0

10

15

12

18

3

2

21

19

20

10

130

ป.2

8

9

13

10

12

5

8

7

11

9

10

102

ป.3

7

12

10

11

17

7

9

12

18

13

12

128

ป.4

9

13

9

17

16

5

14

9

11

18

9

130

ป.5

11

17

6

12

20

8

11

12

9

9

7

122

ป.6

9

14

17

9

21

5

7

9

13

6

7

117

รวม

44

75

70

71

104

33

51

70

81

75

55

729


มายเหตุ : ในชวงพักกลางวันเวลา 11.30 – 12.30 น.นักเรียนทุกคนสามารถเขาใชบริการหองสมุดได้

 


2. ภาพบรรยากาศการเข้าใช้ห้องสมุดอาเซียน


3. กิจกรรมวันอาเซียน
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนบ้านต้นปรง ได้จัดกิจกรรมวันอาเซียนขึ้นในวันที่ 8 สิงหาคม 2565 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ ผ่านการกิจกรรมต่างๆเช่น วาดภาพ ระบายสี สมุดเล่มเล็ก ป็อบอัพ การตอบคำถามรอบรู้อาเซียน การแสดงของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 การเดินแฟชั่นโชว์ชุดแต่งกายของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ

4. ข้อเสนอแนะและประโยชน์ที่ได้รับ
- ข้อเสนอแนะ
การบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ มีกิจกรรมที่ส่งเสริมและสนับสนุน ให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมอาเซียน เพื่อให้นักเรียนร่วมสนุกและเป็นแรงเสริมทางบวก ส่งผลให้เด็กนักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับอาเซียนในสังคมไทย สามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอด นำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่
- ประโยชน์ที่ได้รับ
นักเรียนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับประเทศต่างๆ ที่เป็นสมาชิกอาเซียน วัฒนธรรม ประเพณี การแต่งกาย ชุดประจำชาติ ดอกไม้ประจำชาติต่างๆ สัตว์ประจำชาติต่างๆ สถานที่สำคัญ รู้จักเมืองหลวงแต่ละประเทศ รวมไปถึงภาษาและการทักทายของแต่ละประเทศ ทำให้นักเรียนสามารถนำความรู้จากการเข้าใช้ห้องสมุดอาเซียน ไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน เช่น การไปท่องเที่ยวยังสถานที่ต่างๆ และสามารถทักทาย สวัสดี ในภาษาของประเทศนั้นได้ รวมถึงนักเรียนเข้าใจความแตกต่าง สามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลายเป็นสิ่งสำคัญ สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นการเรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกันในสังคมโลก

Share :